ผอ.ศูนยไซเบอรกองทัพบก
มั่นใจปองกันเว็บโดนถลมได้
โดย...วรรณโชค
ไชยสะอาด - โพสตทูเดย
ผอ.ศูนยไซเบอร
ทบ. มั่นใจระบบการปองกัน เผยจัดเจาหนาที่ดูแล 7 วัน ตลอด
24 ชั่วโมง แนะชาวเน็ตเอาพลังไปชวยเหลือประเทศ ภายหลังกลุมผูใชงานอินเทอรเน็ตไดมีการสงตอขอความเชิญชวนรวมแสดงออกในเชิงสัญลักษณโดยการถลมเว็บไซตของรัฐบาลดวยวิธีการ
DdoS เพื่อจําลองสถานการณและผลกระทบใหเห็นในกรณีที่ประเทศไทยใชระบบโครงการการเชื่อมตออินเตอรเน็ตระหวางประเทศ
ผานโครงขายชองทางเดียวหรือ National Single Internet Gateway ลาสุด พล.ต.ฤทธี อินทราวุธ ผูอํานวยการศูนยเทคโนโลยีทางทหาร
ในฐานะผูอํานวยการศูนยไซเบอรกองทัพ
กลาววา เบื้องตนไดรายงานใหพล.อ.ธีรชัย
นาควานิช ผูบัญชาการทหารบก ไดรับทราบแลว และทานยังไมไดสั่งการอะไรเปนพิเศษ เพราะเชื่อมั่นวา
กองทัพบกสามารถรับมือกับปญหาดังกลาวได ดวยเครื่องมือดานเทคนิคและมาตรการจัดเจ้าหน้าที่
ดูแล 7 วัน ตลอด 24 ชั่วโมง
แตประเด็นสําคัญคือ
การสรางความเขาใจและความเชื่อมั่นกับประชาชนนั้นตองเปนระดับรัฐบาล
และควรนําเสนอแนวทางอื่นเพื่อลดกระแส Single Gateway พล.ต.ฤทธีกลาวอีกวา
สําหรับเว็บไซตสวนราชการหลายหนวยงานที่ถูกโจมตีเมื่อวานนี้ สวนใหญจะโดน DDOS
แบบ Volumetric Attack และ Fragmentation
ผลจากสืบสวนสอบสวนทั้งนี้ Volumetric Attack เปนการโจมตีประเภทหนึ่ง
ของ DDoS การโจมตีประเภทนี้จะสราง Traffic จํานวนมหาศาล สวนแนวทางการปองกันการโจมตีแบบนี้คือ Anycast ซึ่งเปนหลักการเดียวกันกับที่ใชการทํา CDN (Content Delivery
Network) จะสามารถปองกันการโจมตี DDoS แบบ
Volumetric Attack ไดอยางปลอดภัย
พล.ต.ฤทธีกลาววา
แนวทางการปองกันการโจมตีแบบ DDos ดวย CDN
(Content Delivery Network) เปนหลักการซึ่งเหมาะกับ Server ที่มีปริมาณขอมูลจํานวนมหาศาลและมีผูใชบริการขอมูลจํานวนมาก หรือมี Visitors
หลักลานขึ้นไป ซึ่งจะตองลงทุนสูงในการใช Network ภายนอกองคกร ซึ่งจะทําใหมองวาขีดความสามารถขององคกรด้านความปลอดภัยไซเบอรอยูในระดับตํ่า
สงผลขาดความเชื่อมั่นของประชาชนและตางประเทศ โดยเฉพาะการที่ประเทศไทยซึ่งจะเปน Digital
Economy แตองคกรภาครัฐยังไมสามารถปกปองตนเองไดซึ่งก็นาเปนหวงในเรื่องนี้
จากการวิเคราะหขอมูลการโจมตี DDos ดวยการใช Function
F5 ที่ผานมานั้น มีปริมาณสูงสุดอยูที่หลักแสนตนๆ ดังนั้นแนวทางการปองกันแบบงายๆดวยตัวองคกร
และไมตองลงทุนอะไรมากนัก สามารถดําเนินการไดเองคือ
1. การวาง Server ไวหลัง Firewall หรือใน DMZ (DeMilitalized Zone )
2. กาขยาย Bandwidth ของเครือขาย
3. การเพิ่มประสิทธิภาพของเครืองแมขาย เพิ่ม CPU เพิ่ม
RAM
4. การสรางเว็บสํารอง
5. ถาจะประหยัดจริงๆ ยังมีวิธีการในเรื่องการปรับจูนระบบ ทั้งดาน S/W,
H/W ที่ตองมีการคํานวน Load ทั้งการ Request,
Concerrent, Page Memory ตางๆทั้ง Application และ OS วาเราจะรับ Playload ไดจริงเทาใดกอนที่จะใชวิธีการจัดหาอุปกรณมาเพิ่ม
สวนเรื่องของการออกแบบ Software Security คงตองกลับมาทบทวนการดําเนินการอีกครั้ง
ในเรื่องนี้หนวยราชการไมคอยใหความสนใจเนื่องจากขาดแคลนบุคคลากร เรามักจะติดตั้ง
web server กันงายแบบ Next อยางเดียว
โปรแกรมที่ติดตั้งก็เป็น CMS ซึ่งมีอะไรมากมายแฝงในนั้นเราก็ไมรู
และไมเคยจะรับรูวาเราตองการคนเขามาชมเทาใดหรือรับปริมาณคนเขาชมเทาใด
ซึ่งเปนการขาดในเรื่องการวางแผนจัดการดานการพัฒนา S/W อยางมาก
"จากปรากฏการณการรวมพลังของพลเมืองชาวเน็ตของไทย ในการแสดงออกเชิงสัญลักษณที่ไมเห็นดวยกับนโยบาย
Single Gateway ไดแสดงถึงศักยภาพและพลังอํานาจที่ไมมีตัวตนดานไซเบอร
หากนําพลังอํานาจดังกลาวนี้ไปใชในทางที่สรางสรรคและเปนประโยชนตอประเทศชาติบานเมือง
เชน การเผยแพรขนบธรรมเนียม ประเพณีศิลปะ วัฒนธรรม เอกลักษณของชาติในดานการทองเที่ยว
การรวมพลังต่อต้านการปฏิบัติการขาวสารของผูไมประสงคดีตอประเทศชาติ การตอตานการเผยแพรขอมูลขาวสารที่เป็นภัยตอสังคมไทย
รวมถึงการจาบจวงสถาบันฯ โดยการชวยกัน Report บางเพจเฟซบุกที่เปนภัยต่อสังคมไทย
ก็จะเปนคุณประโยชนตอประเทศชาติเปนอยางยิ่ง" พล.ต.ฤทธี กลาว
-------------------------------------------
แหล่งที่มา : http://www.posttoday.com/digital/391609
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น